สรุป
การใช้ภาษาที่ใช้ในการสอนการถาม
ประในการถาม การประกาศ การโฆษณา
การให้เด็กเล่าถึงประสบการที่เคยทำมาก่อน การจัดมุนของเล่นต่างๆที่ฝึกให้เด็ก
วิธีการในการให้เด็กเล่าประสบการเกี่ยวกับตัวของเด็กอง
โดยให้เราบอกถึงเวลาที่ควรจัดให้กับเด็กว่าเวลาไหนที่เหมาะสมที่สุดในการเล่า
เพลง ขอบคุณ ขอบใจ
เมื่อผู้ใหญ่ใจดีให้ของ
หนูๆควรต้องนึกถึงพระคุณ
น้อมไหว้กล่าวคำขอบพระคุณ
นึกถึงบูญคุณกล่าวคำขอบใจ
งานที่ไดรับมอบหมาย ให้นักศึกษาเล่านิทานให้กับเด็กฟัง ที่โรงเรียนอนุบาลสาธิตจันทรเกษม
กลุ่มละ 3 คน
วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2552
หน้าที่ของภาษา 18/12/2525
หน้าที่ของภาษา * สื่อสำหรับการส่งสาร
หน้าที่ของ “ภาษา” คือเป็นตัวสื่อนำพาไปสู่สาระ เราจึงมักใช้คำว่า “สื่อสาร” คือสื่อสาระไปให้ผู้อื่น ดังนั้น ภาษาทุกภาษา ล้วนแล้วแต่เป็นรหัสเป็นสารลักษณ์ทั้งสิ้น
-อักษร (พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์) ทุกตัวเป็นรหัส
- คำและพยางค์เป็น สารลักษณ์
ความหมาย
องค์ความรู้ ไปให้ผู้รับ ผู้พบเห็น ผู้สัมผัส ส่วนประโยคเป็นเรื่องราวตัวอย่างพอหอมปากหอมคอสื่อที่ดีในแง่การสื่อสาร ควรมีการผสมผสานทั้งภาษาเขียน ภาษาเสียง ภาษาภาพ อยู่ด้วยกันอย่างเหมาะสม ในกระบวนการสร้างสื่อการสอนเช่นกัน ปัจจุบันสื่ออิเลคโทรนิกส์กำลังเป็นกระแสพลวัฒน์ที่บทบาทของบุคคลทางการศึกษาต้องรับรู้ รู้จักสอดใส่นำมาจัดอยู่ในกระบวนการเรียนรู้
หน้าที่ของ “ภาษา” คือเป็นตัวสื่อนำพาไปสู่สาระ เราจึงมักใช้คำว่า “สื่อสาร” คือสื่อสาระไปให้ผู้อื่น ดังนั้น ภาษาทุกภาษา ล้วนแล้วแต่เป็นรหัสเป็นสารลักษณ์ทั้งสิ้น
-อักษร (พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์) ทุกตัวเป็นรหัส
- คำและพยางค์เป็น สารลักษณ์
ความหมาย
องค์ความรู้ ไปให้ผู้รับ ผู้พบเห็น ผู้สัมผัส ส่วนประโยคเป็นเรื่องราวตัวอย่างพอหอมปากหอมคอสื่อที่ดีในแง่การสื่อสาร ควรมีการผสมผสานทั้งภาษาเขียน ภาษาเสียง ภาษาภาพ อยู่ด้วยกันอย่างเหมาะสม ในกระบวนการสร้างสื่อการสอนเช่นกัน ปัจจุบันสื่ออิเลคโทรนิกส์กำลังเป็นกระแสพลวัฒน์ที่บทบาทของบุคคลทางการศึกษาต้องรับรู้ รู้จักสอดใส่นำมาจัดอยู่ในกระบวนการเรียนรู้
วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552
11/12/2525
แนวคิดนักการศึกษา
หลักการสอนคือการปฏิบัติที่เด็กได้ลงมือกระทำ
การจัดหรือออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
-ผู้เรียนเป็นศูนยืกลาง
-การจัดกิจกรรม
-มีโอกาศในการอ่านมากขึ้น
สามารถใช้ในการศึกษาไทย
ผู้สอนจะต้องมีพัฒนาความสามารถให้มากกว่าผู้เรียน
การจัดประสบการของเด็กปฐมวัย
เป็นการเรียนรู้และปฎิบัติให้เกิดการเปลี่อนแปลงพฤติกรรม
ต้องให้เด็กเด็กได้ปฎิบัติด้วยความอิสระของตัวเด็กเอง
หลักการสอนคือการปฏิบัติที่เด็กได้ลงมือกระทำ
การจัดหรือออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
-ผู้เรียนเป็นศูนยืกลาง
-การจัดกิจกรรม
-มีโอกาศในการอ่านมากขึ้น
สามารถใช้ในการศึกษาไทย
ผู้สอนจะต้องมีพัฒนาความสามารถให้มากกว่าผู้เรียน
การจัดประสบการของเด็กปฐมวัย
เป็นการเรียนรู้และปฎิบัติให้เกิดการเปลี่อนแปลงพฤติกรรม
ต้องให้เด็กเด็กได้ปฎิบัติด้วยความอิสระของตัวเด็กเอง
วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม 2552
สิ่งที่ได้เรียนในวันนี้ :ความหมายของภาษา เป็นเครื่องมือของมนุษย์ใช้ในการสือสารคือคำพูดหรือที่ไม่ใช่คำพูดดดยผ่านการกระทำหรือการสืนสารทางด้านร่างกายการเรียนรู้
ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
อธิบายว่า
พัฒนาการทางสติปัญญาของคนมีลักษณะเดียวกันในช่วงอายุเท่ากัน และแตกต่างกันในช่วงอายุต่างกัน พัฒนาการทางสติปัญญาเป็นผลจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุลด้วยการใช้กระบวนการดูดซึมและกระบวนการปรับให้เหมาะ จนทำให้เกิดการเรียนรู้โดยเริ่มจากการสัมผัส ต่อมาจึงเกิดความคิดทางรูปแธรมและพัฒนาไปเรื่อยๆ จนเกิดความคิดที่เป็นนามธรรม ซึ่งเป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามลำดับขั้น
จิตวิทยาการเรียนรู้ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม
อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรงสำหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก
แนวการคิดนักการศึกษาทางด้านภาษาสำหรับเด็ก
การสอนแบบองค์รวม
การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีการจัดการสอนแบบองคืรวมป็นสำคัญ
หลักการสอน
1.ผู้อ่านต้องเก็บข้อมูลและเข้าใจ
2. ผู้อ่านจะต้องใช้กลวิธีในการอ่าน
3. การเขียนเน้นให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านและการเขียน
4. การเขียนต้องคำนึงถึงระบบของภาษา
ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
อธิบายว่า
พัฒนาการทางสติปัญญาของคนมีลักษณะเดียวกันในช่วงอายุเท่ากัน และแตกต่างกันในช่วงอายุต่างกัน พัฒนาการทางสติปัญญาเป็นผลจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม โดยบุคคลพยายามปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุลด้วยการใช้กระบวนการดูดซึมและกระบวนการปรับให้เหมาะ จนทำให้เกิดการเรียนรู้โดยเริ่มจากการสัมผัส ต่อมาจึงเกิดความคิดทางรูปแธรมและพัฒนาไปเรื่อยๆ จนเกิดความคิดที่เป็นนามธรรม ซึ่งเป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามลำดับขั้น
จิตวิทยาการเรียนรู้ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม
อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรงสำหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก
แนวการคิดนักการศึกษาทางด้านภาษาสำหรับเด็ก
การสอนแบบองค์รวม
การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีการจัดการสอนแบบองคืรวมป็นสำคัญ
หลักการสอน
1.ผู้อ่านต้องเก็บข้อมูลและเข้าใจ
2. ผู้อ่านจะต้องใช้กลวิธีในการอ่าน
3. การเขียนเน้นให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านและการเขียน
4. การเขียนต้องคำนึงถึงระบบของภาษา
วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดี ที่ 3 ธันวาคม 2552
เทคนิคการสอน
การสอนภาษาสำหรับเด็กไม่ใช่เพียงการสอนทักษะการอ่านและเขียน ครูสามารถประเมินผลการสอนของตนเองจากเด็กง่ายๆ โดยให้สังเกตว่าเราสอนเด็กรู้สึกอย่างไร ถ้าเด็กรู้สึกเครียด เบื่อ และครูรู้สึกไม่สนุกด้วยแสดงว่าการสอนของเราไม่ถูกต้องเสียแล้ว
แนวคิดพื้นฐานของการสอนภาษา
1. ครูจะต้องรู้ว่าเด็กเรียนรู้อย่างไรเด็กเรียนรู้ภาษาอย่างเป็นธรรมชาติอย่าง
2. ประสบการณ์ทางภาษาของเด็กเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
3. เชื่อว่าเด็กทุกคนสามรถเรียนรู้ได้
4. เด็กจะเรียนรู้ได้ดีที่สุด ถ้าเราสอนแบบ สอนอย่างธรรมชาติ สอนอย่างสามารถนำคำสอนไปใช้ได้ด้วย เพราะถ้าเด็กไม่ได้นำไปใช้ เด็กจะเรียนรู้ได้ไม่ดีเนื้อหาที่สอนต้องอยู่ในชีวิตประวันที่เด็กใช้
5. เด็กจะเรียนรู้ได้ที่สุดถ้ามาจากการตัดสินใจของเด็กเอง
6. ให้เด็กรูสึกว่าตัวเขาเป็นส่วนหนึ่งของในสังคมในห้องเรียนนั้นๆ
7. ไม่ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองกำลังถูกแข่งขัน
8. ครูต้องสอนทุกไปพร้อมๆกันและเกี่ยวข้องกัน
9. ทำให้การเรียนของเด็กเป็นสิ่งที่น่าใจและสนุกสนาน
ควรสอนภาษาเด็กอย่างไร
1. เริ่มจากสิ่งที่เด็กรู้แล้วและอยู่ในความสนใจของเด็ก
2. ให้ความเคารพและยอมรับภาษาที่เด็กใช้
3. การประเมินโดยการสังเกต
4. ใช้วิธีการการประเมินที่เหมาะ เสนอความคิดต่อผู้ปกครอง
5. ส่งเสริมให้เด็กเรียนอย่างกระตือรือร้น
6. สร้างความรู้สึกประสบความสำเร็จให้เด็กอ่านสิ่งที่เด็กคุ้นเคย อ่านให้เด็กฟังจากแหล่งต่างๆ
การสอนภาษาสำหรับเด็กไม่ใช่เพียงการสอนทักษะการอ่านและเขียน ครูสามารถประเมินผลการสอนของตนเองจากเด็กง่ายๆ โดยให้สังเกตว่าเราสอนเด็กรู้สึกอย่างไร ถ้าเด็กรู้สึกเครียด เบื่อ และครูรู้สึกไม่สนุกด้วยแสดงว่าการสอนของเราไม่ถูกต้องเสียแล้ว
แนวคิดพื้นฐานของการสอนภาษา
1. ครูจะต้องรู้ว่าเด็กเรียนรู้อย่างไรเด็กเรียนรู้ภาษาอย่างเป็นธรรมชาติอย่าง
2. ประสบการณ์ทางภาษาของเด็กเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
3. เชื่อว่าเด็กทุกคนสามรถเรียนรู้ได้
4. เด็กจะเรียนรู้ได้ดีที่สุด ถ้าเราสอนแบบ สอนอย่างธรรมชาติ สอนอย่างสามารถนำคำสอนไปใช้ได้ด้วย เพราะถ้าเด็กไม่ได้นำไปใช้ เด็กจะเรียนรู้ได้ไม่ดีเนื้อหาที่สอนต้องอยู่ในชีวิตประวันที่เด็กใช้
5. เด็กจะเรียนรู้ได้ที่สุดถ้ามาจากการตัดสินใจของเด็กเอง
6. ให้เด็กรูสึกว่าตัวเขาเป็นส่วนหนึ่งของในสังคมในห้องเรียนนั้นๆ
7. ไม่ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองกำลังถูกแข่งขัน
8. ครูต้องสอนทุกไปพร้อมๆกันและเกี่ยวข้องกัน
9. ทำให้การเรียนของเด็กเป็นสิ่งที่น่าใจและสนุกสนาน
ควรสอนภาษาเด็กอย่างไร
1. เริ่มจากสิ่งที่เด็กรู้แล้วและอยู่ในความสนใจของเด็ก
2. ให้ความเคารพและยอมรับภาษาที่เด็กใช้
3. การประเมินโดยการสังเกต
4. ใช้วิธีการการประเมินที่เหมาะ เสนอความคิดต่อผู้ปกครอง
5. ส่งเสริมให้เด็กเรียนอย่างกระตือรือร้น
6. สร้างความรู้สึกประสบความสำเร็จให้เด็กอ่านสิ่งที่เด็กคุ้นเคย อ่านให้เด็กฟังจากแหล่งต่างๆ
วันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
การจัดประสบการที่1
วันที่ 6 พฤษจิกายน 2552 นางสาว ศิริขวัญ ศิริกิจ รหัส 5111205158
การจัดประสบการณ์ทางภาษา
สำหรับเด็กปฐมวัยการจัดประสบการณ์ทางภาษาเพื่อพัฒนาความสามารถของเด็กปฐมวัย เป็นการจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาภาษา จากการสอนโดยวิธีธรรมชาติรวมทั้งทฤษฎีหลักการในการเรียนรู้ทางภาษาบรรยากาศในห้องเรียน
บรรยากาศในห้อง
1. บรรยากาศในห้องเรียนก็เย็นดี
2. ห้องดูมืดไปหน่อยคะ
3. อาจารย์ไม่เคร่งเครียดเกินไป
4. ภาพรวมก็ดีคะสรุปใจความสำคัญของวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยหลังจากที่ได้ฟังอาจารย์กล่าวถึงรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยก็พัฒนาการทางด้านภาษาของเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมเด็กปฐมวัยเพื่อพัฒนาประสาทสัมผัสทั้งของเด็กและการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
สรุปจากคำถามแรก
เป็นการการจัดประสบการณ์ทางภาษาของเด็กปฐมวัยพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัยเริ่มจากการพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก ปาก สัมผัส ส่วนคำถามต่อมา ก็เน้นไปในเรื่องบรรยากาศในห้องเรียน
เปรียบเทียบ
การจัดประสบการทางภาษาสำหรับเด็กที่ใช้ประสารสำผัสทั้ง5
ที่ไก้รับการเรียนรู้
การจัดประสบการณ์ทางภาษา
สำหรับเด็กปฐมวัยการจัดประสบการณ์ทางภาษาเพื่อพัฒนาความสามารถของเด็กปฐมวัย เป็นการจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาภาษา จากการสอนโดยวิธีธรรมชาติรวมทั้งทฤษฎีหลักการในการเรียนรู้ทางภาษาบรรยากาศในห้องเรียน
บรรยากาศในห้อง
1. บรรยากาศในห้องเรียนก็เย็นดี
2. ห้องดูมืดไปหน่อยคะ
3. อาจารย์ไม่เคร่งเครียดเกินไป
4. ภาพรวมก็ดีคะสรุปใจความสำคัญของวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยหลังจากที่ได้ฟังอาจารย์กล่าวถึงรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยก็พัฒนาการทางด้านภาษาของเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมเด็กปฐมวัยเพื่อพัฒนาประสาทสัมผัสทั้งของเด็กและการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
สรุปจากคำถามแรก
เป็นการการจัดประสบการณ์ทางภาษาของเด็กปฐมวัยพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัยเริ่มจากการพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก ปาก สัมผัส ส่วนคำถามต่อมา ก็เน้นไปในเรื่องบรรยากาศในห้องเรียน
เปรียบเทียบ
การจัดประสบการทางภาษาสำหรับเด็กที่ใช้ประสารสำผัสทั้ง5
ที่ไก้รับการเรียนรู้
ทฤษฎีพัฒนาการทางด้านสติปัญญา
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
ทฤษฎีการเรียนรู้
1) พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น
-ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage)
เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญาด้วยการกระทำ เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูด เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
- ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage)
ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น คือ
1. ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought)
เด็กอายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น
จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก นอกจากนี้ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น
2. ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้-ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage)
อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจำนวนเลข เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำความรู้ในสิ่งหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่นและสามารถนำเหตุผลทั่วๆ
-ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage
เริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ เด็กวัยนี้สามารถที่จะเข้าใจเหตุผล รู้จักการแก้ปัญหาสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้ สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ
ความสามารถในการคิดย้อนกลับ นอกจากนั้นความสามารถในการจำของเด็กในช่วงนี้มีประสิทธิภาพขึ้น สามารถจัดกลุ่มหรือจัดการได้อย่างสมบูร
-ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage)
เริ่มจากอายุ 11-15 ปี ในขั้นนี้พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้เป็นขั้นสุดยอด คือเด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กจะสิ้นสุดลง เด็กจะสามารถที่จะคิดหาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มีอยู่ สามารถที่จะคิดแบบนักวิทยาศาสตร์ สามารถที่จะตั้งสมมุติฐานและทฤษฎี และเห็นว่าความเป็นจริงที่เห็นด้วยการรับรู้ที่สำคัญเท่ากับความคิดกับสิ่งที่อาจจะเป็นไปได้
สิ่งที่เป็นนามธรรมพัฒนาการทางการรู้คิดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็นประสบการณ์ สำคัญที่เด็กควรได้รับการส่งเสริม มี 6 ขั้น ได้แก่
1. ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) เด็กเริ่มรับรู้ในความแตกต่างของสิ่งของที่มองเห็น
2. ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (Opposition) ขั้นนี้เด็กรู้ว่าของต่างๆ มีลักษณะตรงกันข้ามเป็น 2 ด้าน เช่น มี-ไม่มี หรือ เล็ก-ใหญ่
3. ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) เด็กเริ่มรู้จักคิดสิ่งที่เกี่ยวกับลักษณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างปลายสุดสองปลาย เช่น ปานกลาง น้อย
4. ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation) เด็กสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ เช่น บอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้
5. ขั้นรู้ผลของการกระทำ (Function) ในขั้นนี้เด็กจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง
6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation) เด็กจะรู้ว่าการกระทำให้ของสิ่งหนึ่งเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่ออีกสิ่งหนึ่งอย่างทัดเทียมกัน
2) ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่
3) กระบวนการทางสติปัญญามีลักษณะดังนี
- การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation)
-การปรับและจัดระบบ (accommodation)
-การเกิดความสมดุล (equilibration)
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรุนเนอร์
1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
ทฤษฎีการเรียนรู้
1) พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น
-ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage)
เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญาด้วยการกระทำ เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูด เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
- ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage)
ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น คือ
1. ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought)
เด็กอายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น
จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก นอกจากนี้ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น
2. ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้-ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage)
อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจำนวนเลข เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำความรู้ในสิ่งหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่นและสามารถนำเหตุผลทั่วๆ
-ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage
เริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ เด็กวัยนี้สามารถที่จะเข้าใจเหตุผล รู้จักการแก้ปัญหาสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้ สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ
ความสามารถในการคิดย้อนกลับ นอกจากนั้นความสามารถในการจำของเด็กในช่วงนี้มีประสิทธิภาพขึ้น สามารถจัดกลุ่มหรือจัดการได้อย่างสมบูร
-ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage)
เริ่มจากอายุ 11-15 ปี ในขั้นนี้พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้เป็นขั้นสุดยอด คือเด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กจะสิ้นสุดลง เด็กจะสามารถที่จะคิดหาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มีอยู่ สามารถที่จะคิดแบบนักวิทยาศาสตร์ สามารถที่จะตั้งสมมุติฐานและทฤษฎี และเห็นว่าความเป็นจริงที่เห็นด้วยการรับรู้ที่สำคัญเท่ากับความคิดกับสิ่งที่อาจจะเป็นไปได้
สิ่งที่เป็นนามธรรมพัฒนาการทางการรู้คิดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็นประสบการณ์ สำคัญที่เด็กควรได้รับการส่งเสริม มี 6 ขั้น ได้แก่
1. ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) เด็กเริ่มรับรู้ในความแตกต่างของสิ่งของที่มองเห็น
2. ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (Opposition) ขั้นนี้เด็กรู้ว่าของต่างๆ มีลักษณะตรงกันข้ามเป็น 2 ด้าน เช่น มี-ไม่มี หรือ เล็ก-ใหญ่
3. ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) เด็กเริ่มรู้จักคิดสิ่งที่เกี่ยวกับลักษณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างปลายสุดสองปลาย เช่น ปานกลาง น้อย
4. ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation) เด็กสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ เช่น บอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้
5. ขั้นรู้ผลของการกระทำ (Function) ในขั้นนี้เด็กจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง
6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation) เด็กจะรู้ว่าการกระทำให้ของสิ่งหนึ่งเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่ออีกสิ่งหนึ่งอย่างทัดเทียมกัน
2) ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่
3) กระบวนการทางสติปัญญามีลักษณะดังนี
- การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation)
-การปรับและจัดระบบ (accommodation)
-การเกิดความสมดุล (equilibration)
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรุนเนอร์
บรุนเนอร์เชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตัวเอง (discovery learning) ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
1) การจัดโครงสร้างของความรู้ให้มีความสัมพันธ์ และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก มีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก
2) การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับความพร้อมของผู้เรียน และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนจะช่วยให้การเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพ
3) การคิดแบบหยั่งรู้ (intuition) เป็นการคิดหาเหตุผลอย่างอิสระที่สามารถช่วยพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได
ทฤษฎีการเรียนรู้
1) การจัดโครงสร้างของความรู้ให้มีความสัมพันธ์ และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก มีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก
2) การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับความพร้อมของผู้เรียน และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนจะช่วยให้การเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพ
3) การคิดแบบหยั่งรู้ (intuition) เป็นการคิดหาเหตุผลอย่างอิสระที่สามารถช่วยพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได
4) แรงจูงใจภายในเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในการเรียนรู้
5) ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์แบ่งได้เป็น 3 ขั้นใหญ่ ๆ คือ
5.1) ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ (Enactive Stage) คือ ขั้นของการเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งต่าง ๆ การลงมือกระทำช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ
5.2) ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นที่เด็กสามารถสร้างมโนภาพในใจได้ และสามารถเรียนรู้จากภาพแทนของจริงได้
5.3) ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้
5) ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์แบ่งได้เป็น 3 ขั้นใหญ่ ๆ คือ
5.1) ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ (Enactive Stage) คือ ขั้นของการเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งต่าง ๆ การลงมือกระทำช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ
5.2) ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นที่เด็กสามารถสร้างมโนภาพในใจได้ และสามารถเรียนรู้จากภาพแทนของจริงได้
5.3) ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้
6) การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากการที่คนเราสามารถสร้างความคิดรวบยอด หรือสามารถจัดประเภทของสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
7) การเรียนรู้ที่ได้ผลดีที่สุด คือ การให้ผู้เรียนค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (discovery learning)
การนำไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน
1) กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสำหรับผู้เรียน
2) การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสมเป็นสิ่งที่จำเป็นที่ต้องทำก่อนการสอน
3) การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเนื้อหาหรือความคิดรวบยอดเดียวกันแก่ผู้เรียนทุกวัยได้ โดยต้องจัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอนให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน
4) ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระให้มากเพื่อช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรีย
7) การเรียนรู้ที่ได้ผลดีที่สุด คือ การให้ผู้เรียนค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (discovery learning)
การนำไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน
1) กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสำหรับผู้เรียน
2) การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสมเป็นสิ่งที่จำเป็นที่ต้องทำก่อนการสอน
3) การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเนื้อหาหรือความคิดรวบยอดเดียวกันแก่ผู้เรียนทุกวัยได้ โดยต้องจัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอนให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน
4) ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระให้มากเพื่อช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรีย
5) การสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน เป็นสิ่งจำเป็นในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่ผู้เรียน
6) การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด
6) การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด
7) การสอนความคิดรวบยอดให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็น
8) การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
8) การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของกาเย่
จากทัศนะของกาเย่ เด็กพัฒนาเนื่องจากว่า เขาได้เรียนรู้กฎเกณฑ์ที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อย ๆ พฤติกรรมที่อาศัยกฎที่ซับซ้อนเกิดขึ้นเพราะเด็กได้มีกฎง่าย ๆ ที่จำเป็นมาก่อน ในระยะเริ่มแรกเด็กจะได้รับนิสัยง่าย ๆ ที่ช่วยทำหน้าที่เป็นจุดเริ่มต้น เพื่อให้ได้มาซึ่งกลไกพื้นฐาน และการตอบสนองทางคำพูด ต่อมาก็จะเป็นการจำแนกความคิดรวบยอดเป็นกฎง่าย ๆ และในที่สุดก็จะเป็นกฎที่ซับซ้อน
การพัฒนาทางสติปัญญา จึงได้แก่การสร้างความสามารถในการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ระยะหรือขั้นของการพัฒนาการดูเหมือนว่าจะสัมพันธ์กับอายุของเด็ก เนื่องจากการเรียนรู้ต้องใช้เวลา มีข้อจำกัดทางสังคมเป็นตัวกำหนด หรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราความเร็วในการให้ความรู้และข่าวสารแก่เด็ก สำหรับกาเย่แล้ว ความสามารถในการเรียนรู้อาจต้องรอการฝึกฝนที่เหมาะสม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)